อ.ศิวกร มอบหมายงาน ก่อนจะไปร่วมกิจกรรมรับน้อง คือ......
ให้ออกแบบระบบ Sensor (ระบบปิด) โดยการใช้ อุปกรณ์ Sensor อย่างน้อย 3 ประเภท หรือมากกว่านั้น
โดยการออกแบบ ต้องอยู่บนพื้นฐานแห่งความเป็นไปได้ และสามารถสร้างขึ้นมาใช้งานได้จริงๆ
เขียน Idea ของคุณ ลงในกระดาษ A4 พร้อมกับเตรียมตัว บรรยายแนวคิด และหลักการทำงาน สิ่งประดิษฐ์ของคุณให้เพื่อนๆ ได้รับฟัง ทุกคนต้องทำ ย้ำทุกคน ...อาจารย์อาจจะเลือกคุณหรือไม่ เจอกันวันเสาร์นี้
เจอ..กัล...วันเสาร์ที่ 23 นี้นะครับ พี่น้อง ...แว๊บบบบบ...
วิชาเซ็นเซอร์และทรานสดิวเซอร์
วันอังคารที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2554
วันเสาร์ที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2554
คะแนนสอบครั้งที่ 1
Test ครั้งที่ 1 วันที่ 25 มิถุนายน 2554
คะแนน 40 คะแนน (บทที่ 1-2)
545279101 | นาย | จตุรงค์ | สุวรรณสังโส | 31 |
545279102 | นาย | จักรินทร์ | แทนโสภา | 26 |
545279103 | นาย | ชัยชนะ | เศษไธสง | 29 |
545279104 | นาย | ไชยา | โสมาศรี | 30 |
545279105 | นาย | ดิชน | การาม | 0 |
545279106 | นาย | ทวี | สีลาพัฒน์ | 28 |
545279107 | นาย | ทศพล | นิมา | 29 |
545279108 | นาย | ธิติพงษ์ | อนุศรี | 28 |
545279109 | นาย | ธีระวุฒิ | เถาฉิม | 21 |
545279110 | นาย | นภัทร | มัชฌิมา | 20 |
545279111 | นาย | นครินทร์ | พูลศรี | 29 |
545279112 | นาย | บรรณวิชญ์ | นิลธวัช | 25 |
545279114 | นาย | ปฏิภาณ | บัวโคกรัง | 15 |
545279115 | นาย | ปัญญา | หาญโก่ย | 26 |
545279116 | น.ส. | ปาณิศา | ไชยศรีสงคราม | 17 |
545279117 | น.ส. | พรพิมล | บุญเลี้ยง | 26 |
545279118 | นาย | พิชัย | สระทองอ้อย | 30 |
545279119 | น.ส. | พิทธิยาภรณ์ | ศรึจุมพล | 29 |
545279120 | นาย | พิทักษ์เขต | ประทุมจร | 29 |
545279121 | นาย | พิธิชัย | ทะสา | 25 |
545279122 | นาย | พิพงษ์ | จุลนันท์ | 19 |
545279123 | นาย | ยศวริศ | จำปาเทศ | 26 |
545279124 | นาย | วัลลภ | อินทะนาลัม | 27 |
545279125 | นาย | วิทยา | ทิศเสถียร | 0 |
545279126 | นาย | วิทยา | มาเตชะ | 25 |
545279127 | นาย | วิษณุวัฒน์ | บุสำโรง | 27 |
545279128 | นาย | วีรวุธ | สิงจันทึก | 29 |
545279129 | นาย | ศราวุฒิ | ทาดัน | 0 |
545279130 | นาย | ศุภกิจ | คำมณีจันทร์ | 27 |
545279131 | นาย | สายเพ็ชร | สุนทอง | 31 |
545279132 | นาย | สุทธิพงษ์ | โพธิ์โน | 30 |
545279133 | นาย | สุทัศน์ | ปัดชาเขียว | 26 |
545279134 | นาย | สุริยันต์ | คำตัน | 29 |
545279135 | นาย | สุลักษณ์ | ทวยทุย | 0 |
545279136 | นาย | โสภณ | เพ็ชรสูงเนิน | 26 |
545279137 | นาย | หฤษฎ์ชนน | โสธร | 0 |
545279138 | นาย | อนุสิษฐ์ | วัฒนาชัยทัศน์ | 0 |
545279139 | นาย | อภิวัฒน์ | จำปาโพธิ์ | 27 |
545279140 | นาย | อภิสิทธิ์ | ภูมิชัยโชติ | 25 |
545279141 | นาย | อินทรวัฒน์ | อินนอก | 28 |
545279142 | นาย | อิสระ | สารสมัคร | 19 |
545279143 | นาย | ชาญวิทย์ | แสนใจ | 20 |
545279144 | นาย | ภาณุ | พัฒนพงศ์ | 24 |
545279145 | นาย | ศราวุธ | รัตนเรืองศรี | 0 |
545279146 | น.ส. | อำไพ | ผิวอ่อน | 0 |
545279147 | นาย | เสาร์เอก | นุขันธ์ | 23 |
545279148 | นาย | สุขสวัสดิ์ | ทองโคตร | 27 |
545279149 | นาย | ธนรัตน์ | ปักษี | 23 |
545279150 | นาย | วัชชิระ | ดาราพรม | 27 |
วันอังคารที่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2554
หม้อหุงข้าวไฟฟ้า
อย่าลืม ค้นหาปริศนา ....หม้อหุงข้าว กับเตารีด
หม้อหุงข้าว
ตรงกลางของแผ่นความร้อนมีรูกลมรูหนึ่ง ภายในรูมีแม่เหล็กอ่อนที่ไวต่อความร้อนแม่เหล็กออกไซด์ เมื่อยู่ภายใต้อุณหภูมิ 100 ํC หรือต่ำกว่าจะถูกแม่เหล็กถาวรดูด(น้ำในหม้อหุงข้าวยังไม่แห้ง)
แต่เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้นถึง 103 ํC (น้ำแห้งแล้ว แสดงว่าข้าวสุก) จะสูญเสียความเป็นแม่เหล็กถาวรดูด
การทำงาน
เมื่อกดสวิตซ์หม้อหุงข้าวไฟฟ้า ดังรูป (1) แกนของสวิตซ์จะดีดให้แม่เหล็กดูดติดกับแม่เหล็กอ่อนที่ไวต่อความร้อนทำให้กระแสไฟฟ้าไหลเข้าสู่ขดลวดความร้อน เริ่มให้ความร้อนในการหุงข้าว
หลังจากข้าวในหม้อเดือดแล้วน้ำในหม้อจะค่อยๆลดลง เมื่อน้ำเริ่มระเหยจนแห้งอุณหภูมิภายในหม้อจะสูงเกินกว่า 100 ํC พออุณหภูมิสูงถึง 103 ํC แม่เหล็กอ่อนจะไม่ถูกแม่เหล็กถาวรดูด แกนของสวิตซ์จะถูกดึงลงมาจากแรงดึงของขดสปริง และน้ำหนักแม่เหล็กถาวรเองจะกดลงทำให้จุดสัมผัสแยกออกจากกัน จึงไม่มีไฟฟ้าเข้าสู่ขดลวดความร้อน ดังแสดงในรูป (2)
ในขณะเดียวกันจะไปเชื่อมโยงให้ระบบไฟฟ้าในการอุ่นทำงาน (ในรูปไม่ได้แสดงไว้) รักษาอุณหภูมิของข้าวไว้ราว 70 ํC
ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ ....http://www.rmutphysics.com/charud/scibook/physcis-for-everyday/physics-for-everydayuse-content/101-128/indexcontent102.htm
เตารีด
การทำงานเมื่อมีกระแสไฟฟ้าไหลเข้าเตารีด จะผ่านไปยังหน้าสัมผัส ลวดความร้อน และลวดความต้านทานตามลำดับ
ซึ่งจะทำให้แผ่นความร้อนเกิดความร้อนส่งผ่านความร้อน ให้กับพื้นของเตารีด
และแผ่นไบ-เมทอลที่ยึดติดกับพื้นเตารีด ก็ได้รับความร้อนไปด้วย
เมื่อแผ่นความร้อนไป-เมทอลได้รับความร้อนจะเกิดการงอตัวตามปริมาณความร้อนที่ได้รับ
ส่งผลทำให้แรงกดระหว่างหน้าสัมผัสน้อยลงจนพื้นเตารีดร้อนจนถึงระดับที่ตั้งไว้
หน้าสัมผัสก็จะตัดกระแสไฟไม่ให้ไหลผ่านแผ่นความร้อน
ทำให้เตารีดเย็นลงแผ่นไบ-เมทอลจะเริ่มเหยีด ตรงตามเดิม
จากนั้นหน้าสัมผัสก็ต่อกระแสไฟฟ้าให้กับแผ่นความร้อนอีกครั้ง
วันจันทร์ที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2554
เข้าห้องเรียน
วันที่ 18 มิ.ย. 54
อาจารย์แนะนำ บทที่ 1 และ 2 ขอให้เพื่อนร่วมชั้นทุกท่านกรุณาอ่านเพิ่มเติมด้วย
สำหรับคนที่มาจ่ายเงินทีหลัง แล้วยังไม่ได้หนังสือ ประมาณ 10 คน วันอังคารเป็นต้นไป
กรุณาติดต่อขอรับหนังสือที่ผมด้วย 085-9245581 (กบ)
วิชาเซ็นเซอร์ฯ
อาจารย์ศิวกร แก้วรัตน์
อาจารย์ผู้สอน
ตางรางเรียน
วันเสาร์ บ่าย
วันอาทิตย์เช้า
วันที่ 11 มิ.ย.54
วันแรก ก็แนะนำตัว นศ.ว่าจบจากที่ไหน ทำงานที่ไหน รวมทั้งมอบเอกสารประกอบการสอน เพื่อจ่ายแจกให้ สมาชิกทุกคนในหมู่เรียน
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)